วันอาทิตย์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บทที่ 11 อนุพันธ์ของกรดอินทรีย์

บทที่ 11
อนุพันธ์ของกรดอินทรีย์

อนุพันธ์ของกรดอินทรีย์
1)บทนำ
     เป็นสารอนุพันธ์ของกลุ่มอินทรีย์เตรียมได้จากกรดอินทรีย์ และเปลี่ยนกลับไปเป็นกรดอินทรีย์ได้ เกิดจากการแทนที่หมู่hydroxyl ของกรดอินทรีย์ด้วยอะตอมอื่น ประกอบไปด้วยสารประกอบประเภทเอสเทอร์(ester) และ เอไมด์ (amide)

2)การเรียกชื่อ    
      มีหลักการเรียกชื่อที่เหมือนกันทั้งชื่อสามัญ และ IUPAC
   1)Ester
     เรียกเป็น Alkylalkanoateโดย Alkyl- คือชื่อของแอลกอฮอลเดิม
Alkanoate คือชื่อทีได้จากกรดอินทรีย์
 เช่น      HCOOCH3     methylmethanoate

     2)Amide
     เรียกเหมือนกรดอินทรีย์ทุกประการ แต่เปลี่ยนจาก–oic acid เป็น amide ถ้ามีหมู่แอลคิลมาเกาะที่ไนโตรเจนให้เรียกเป็นตำแหน่ง N
เพื่อแสดงตำแหน่งที่มาเกาะ
เช่น       CH3CONH2     ethanamide
 3)สมบัติทางกายภาพ
     -จุดเดือดและจุดหลอมเหลว
จุดที่น่าสนใจคือamide จะมีจุดเดือดสูงที่สุดเมื่อเทียบกับสารอื่นๆที่มีมวลเท่ากัน  โมเลกุลของ amide สามารถเกิดเรโซแนนซ์ทำให้O มีความเป็นลบมาก และ N มีความเป็นบวกมาก ทำให้เกิดพันธะไฮโดนเจนได้เป็นอย่างดียกเว้น เอไมด์ตติยภูมิ ที่ไม่สามารถเรโซแนนซ์ได้ แต่ก็ยังมีจุดเดือดอสูงเช่นกัน   

 สรุปได้ว่า
          1 amides>> 2 amide >>3amide

     ในขณะที่ เอสเทอร์มีจุดเดือดใกล้เคียงกับแอลเคนโซ่ตรง เมื่อมีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน

สามารถเรียงลำดับได้ดังนี้
     Amide >> Carboxylic acid>> Alcohol >> Ether >>
Alkyne >> Alkane >> Alkene
   - การละลาย
อนุพันธ์ของกรดอิทรีย์สามารถละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์ทั่วไป รวมถึงละลายในน้ำด้วย
4.) ปฏิกิริยาของอนุพันธ์ของกรดอินทรีย์
- ester
1 Hydrolysis or Saponification
2 Ammonolysis
3 Transesterification
4 Reduction
- amide
1. Hydrolysis
2. Reduction
3. Hoffmann rearrangement
ดึง CO ออกได้เป็น CO2-3 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น