วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บทที่ 9 แอลดีไฮด์ และคีโตน

บทที่ 9
แอลดีไฮด์ และคีโตน

แอลดีไฮด์และคีโตน
(Aldehyde and Ketone)
แอลดีไฮด์และคีโตน เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่คาร์บอนิล
หมู่คาร์บอนิล ส่วนแอลดีไฮด์จะมีหมู่แอลคิลเพียงหมู่เดียวกับอะตอมของไฮโดรเจนต่ออยู่กับคาร์บอน  อะตอมของหมู่คาร์บอนิล และเรียกหมู่ฟังก์ชันของแอลดีไฮด์ว่า หมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์
การเรียกชื่อแอลดีไฮด์และคีโตน
ในระบบ
แอลเคนจาก
ตำแหน่งที่
IUPAC จะเรียกชื่อแอลดีไฮด์จากชื่อของแอลเคน โดยเปลี่ยนอักษรที่ลงท้ายชื่อ– e เป็น – al และให้นับตำแหน่งคาร์บอนอะตอมในหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ (-CHO) เป็น1 เสมอ
ส่วนการเรียกชื่อคีโตนจะเปลี่ยนอักษรลงท้ายชื่อแอลเคนจาก
ปฏิกิริยาหลักของอัลดีไฮด์และคีโตนที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จึงเป็น ปฏิกิริยาการเพิ่มนิวคลิโอไฟล์ ( nucleophilic addition )
4. สมบัติทางเคมีของแอลดีไฮด์และคีโตนมี 2 แบบ คือ
   4.1.ปฏิกิริยาการเพิ่มนิวคลิโอไฟล์ของคีโตนจะเกิดช้ากว่าของอัลดีไฮด์ ทั้งนี้เนื่องจากผลของ ซเทอริก(steric effect) และผลของ อิเลคทรอนิก (electronic effect) ที่อยู่ภายในโมเลกุล

   4.2.ปฏิกิริยาแทนที่ alpha-H ของหมู่คาร์บอนิล ด้วยหมู่แฮโลเจน

  4.1.ปฏิกิริยาการเพิ่มนิวคลิโอไฟล์ของคีโตนจะเกิดช้ากว่าของอัลดีไฮด์ ทั้งนี้เนื่องจากผลของ

     4.1.1 ปฏิกิริยาการเพิ่มน้ำของอัลดีไฮด์หรือคีโตนจะให้ 1,1-diol สำหรับปฏิกิริยานี้จะเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ (reversible reaction) เช่น

  R-CHO + H2O  ให้  RCH(OH)2 เช่น
CCl3CHO + H2O   CCl3CH(OH)2
  R-CO-R + H2O  ให้  R2C(OH)2 เช่น
CCl3COCCl3   + H2O (CCl3)2C(OH)2

     4.1.2  ปฏิกิริยาการเพิ่มอัลกอฮอล์ของอัลดีไฮด์หรือคีโตน จะให้เฮมิอะซิทัล (hemiacetal) หรือเฮมิคีทัล(hemiketal)  สำหรับปฏิกิริยานี้จะเป็นปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ (reversible reaction) และถ้ามีอัลกอฮอล์มากเกินพอ(excess) จะให้อะซิทัล (acetal) หรือ คีทัล (ketal)  เช่น

  R-CHO + 2ROH  ให้  RCH(OR)2 (อะซิทัล) เช่น
CH3CHO + 2 CH3OH    CH3CH(OCH3)2
  R-CO-R + 2ROH  ให้  R2C(OR)2 (คีทัล) เช่น
CH3COCH3 + 2 CH3OH    (CH3)2C(OCH3)2

     4.1.3 ปฏิกิริยาการเพิ่ม HCN ของอัลดีไฮด์หรือคีโตนจะให้ไซยาโนไฮดริน (cyanohydrin) เช่น
  R-CO-R + HCN  ให้  R2C(OH)CN  (cyanohydrin) เช่น

CH3COCH3 + HCN   (CH3)2C(OH)CN  
CH3CHO + HCN   CH3CH(OH)CN

      4.1.4 ปฏิกิริยาการเพิ่มแอมโมเนีย หรือไพรมารีเอมีน ของอัลดีไฮด์หรือคีโตน เช่น
  R-CHO + RNH2  ให้  RCH=NR เช่น
CH3CHO + CH3CH2NH2   CH3CH=NCH2CH3
  R-CO-R + RNH2  ให้  R2C=NR เช่น
CH3COCH3 + CH3CH2NH2   (CH3)2C=NCH2CH3

     4.1.5 ปฏิกิริยาการเพิ่มกรีญาร์รีเอเจนต์ (Grignard reagent)  ของอัลดีไฮด์จะให้เซเคิลดารีอัลกอฮอล์หรือคีโตนจะให้เทอเชียรีอัลกอฮอล์ เช่น
  R-CHO + RMgX  และนำไปทำปฏิกิริยาต่อด้วยน้ำให้  R2CH(OH) (เซเคิลดารีอัลกอฮอล์) เช่น

CH3CHO + CH3CH2MgBr (then H2O)   CH3CH(OH)CH2CH3
   R-CO-R + RMgX  และนำไปทำปฏิกิริยาต่อด้วยน้ำให้  R3C(OH) (เทอเชียรีอัลกอฮอล์) เช่น
CH3COCH3 + CH3CH2MgBr (then H2O)   (CH3)2C(OH)CH2CH3

     4.1.6 ปฏิกิริยารีดักชันของอัลดีไฮด์จะให้ไพรมารีอัลกอฮอล์หรือคีโตนจะให้เซเคิลดารีอัลกอฮอล์ เช่น
  R-CHO + LiAlH4 or NaBH4 or H2/Pt  ให้  RCH2OH (ไพรมารีอัลกอฮอล์) เช่น
CH3CHO + LiAlH4 or NaBH4 or H2 / Pt    CH3CH2OH
  R-CO-R + LiAlH4 or NaBH4 or H2/Pt  ให้  R2CHOH (เซเคิลดารีอัลกอฮอล์) เช่น
CH3COCH3 + LiAlH4 or NaBH4 or H2 / Pt    CH3CH(OH)CH3

     4.1.7 ปฏิกิริยาออกซิเดชันของอัลดีไฮด์หรือคีโตน เช่น การใช้ทอลเลนส์รีเอเจนต์ทดสอบความแตกต่างของอัลดีไฮด์และคีโตนถ้าเป็นอัลดีไฮด์จะถูกออกซิไดซ์ให้กรดคาร์บอกซิลิกและมีตะกอนเงินเกิดขึ้น และถ้าเป็นคีโตนจะไม่เกิดปฏิกิริยา

  R-CHO + Ag(NH3)+,OH-  (ทอลเลนส์รีเอเจนต์)  RCOO- (carboxylic  acid salt) + Ag
  R-CO-R + Ag(NH3)+,OH-  (ทอลเลนส์รีเอเจนต์)no reaction

ปฏิกิริยาออกซิเดชันของอัลดีไฮด์ด้วย (Benedict’s reagent) Cu2+/citric acid/NaOH จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันเฉพาะอะลิเฟติกอัลดีไฮด์

 R-CHO + Cu2+/citric acid/NaOH (Benedict’s reagent) RCOO- (carboxylic  acid salt) + Cu2O
CH3CHO + Cu2+/citric acid/NaOH (Benedict’s reagent)  CH3COO-Cu2O

 + Cu2+/citric acid/NaOH (Benedict’s reagent)no reaction
  4.2.ปฏิกิริยาแทนที่ alpha-H ของหมู่คาร์บอนิล ด้วยหมู่แฮโลเจน

     4.2.1 ปฏิกิริยาเฮโลฟอร์ม(Haloform)เป็นปฏิกิริยาทดสอบของอัลดีไฮด์หรือคีโตนว่ามีหมู่
RCO-CH3 ถ้ามีจะให้ตะกอนสีเหลืองอ่อนของไอโอโดฟอร์ม เช่น

  R-CO-CH3 + NaOH / I2(excess)    R-COO-Na+ + CHI3 (Iodoform)
CH3COCH3 + NaOH / I2(excess) CH3COO-Na+ + CHI3 (Iodoform)
CH3CHO +  NaOH / I2(excess) HCOO-Na+ + CHI3 (Iodoform)
–e เป็น –one และระบุตำแหน่ง ของคาร์บอนในหมู่คาร์บอนิล ( - CO - ) เป็นตำแหน่งที่ต่ำสุด  การนับตำแหน่งของคาร์บอนอะตอมต่าง ๆ ที่ต่ออยู่กับหมู่คาร์บอนิลอาจนับโดยใช้อักษรกรีกก็ได้ อะตอมของคาร์บอนที่ต่อโดยตรงกับหมู่คาร์บอนิล เรียกว่า แอลฟาคาร์บอน (alpha-carbon: α -carbon) คาร์บอนอะตอมถัดไปเรียกว่า บีตา (beta: β) แกมมา (gamma: γ) เดลตา (delta: δ) ตามลำดับสำหรับคาร์บอนอะตอมที่อยู่ปลายโซ่ที่มีความยาวมาก ๆ เรียกว่า โอเมกาคาร์บอน (omegacarbon: ω- carbon) เพราะ ω เป็นอักษรตัวสุดท้ายของภาษากรีก หมู่อะตอมที่ต่ออยู่กับแอลฟาคาร์บอน เรียกว่า หมู่แอลฟา และที่ต่อกับบีตา คาร์บอน เรียกว่า หมู่บีตา
โดยที่คีโตนจะมี หมู่แอลคิล 2 หมู่ต่ออยู่กับคาร์บอนอะตอมของหมู่คาร์บอนิลและเรียกหมู่ฟังก์ชันของคีโตนว่า

1 ความคิดเห็น: